พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท - ทำเนียบรุ่น - webpra

เมืองชัยนาท

พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท

พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (1)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (2)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ บัวสองชั้น เนื้อตะกั่วสนิมแดง
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท (2)
พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ บัวสองชั้น เนื้อตะกั่วสนิมแดง
ชื่อพระเครื่อง พระร่วงนั่งพิมพ์ใหญ่ กรุดอนกระโดน เมืองชัยนาท
อายุพระเครื่อง 0 ปี
หมวดพระ พระกรุ
สถานะ
จำนวนคนชม 15190
เข้าทำเนียบตั้งแต่วันที่ พฤ. - 26 ก.ค. 2555 - 01:46.16
แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อ พ. - 01 ส.ค. 2555 - 08:15.29
Facebook
รายละเอียด
กรุที่มีการค้นพบ
- กรุดอนกระโดน


บทความจากพระร่วงนั่ง กรุคอกควาย จาก saranugrompra.com
---พระพิมพ์ยอดขุนพลและพิมพ์พระร่วงยืนที่พบนี้ เป็นพระเนื้อชินตะกั่วสนิมแดง พิมพ์พระร่วงยืนมีลักษณะคล้ายกับพระร่วงยืน กรุหนองแจง สุพรรณบุรี ส่วนพิมพ์ยอดขุนพลเป็นพระพิมพ์ครึ่งซีก ขนาดใหญ่กว่าพระหูยานเล็กน้อย องค์พระตัน มีความหนาพอประมาณ ประทับนั่งปางมารวิชัย นิยมเรียกกันว่า "พระอู่ทอง กรุดอนกระโดน"

เมื่อพิจารณาจากศิลปะสมัย พระอู่ทองกรุดอนกระโดนนี้ มีพระพักตร์เข้มขรึมแบบศิลปะลพบุรีซึ่งดูได้จาก
-พระเกศ เป็นแบบ ฝาละมีคว่ำ มีรอยขวั้น 3 ชั้น
-พระศก แบบผมหวี
-พระนลาฏ ตรงกลางเป็นอุณาโลม
-พระขนง วาดติดเป็นรูปปีกกาแบบเส้นนูนแล้วเชื่อมต่อลงมาเป็นพระนาสิก
-พระกรรณ หูทั้งสองข้างยาวประบ่า
-พระเนตร ตอกเป็นเส้นลึกลงไปคล้ายพระหูยาน
-เส้นสังฆาฏิ เป็นแผ่นนูนและสั้นเสมอราวนม
-พระถัน ทำเป็นเส้นจีวรต่อลงมาที่สังฆาฏิ
-พระวรกาย ประดับด้วยเส้นพระศอและรัดพระกร ทั้งสองข้างอย่างสวยงาม

---พระอู่ทองกรุดอนกระโดนนี้ เป็นพระเนื้อชินตะกั่วสนิมแดง พระที่พบส่วนใหญ่ผิวพระจะดูขาวโพลนไปหมด เกิดจากการที่ "สนิมไขขาว" ขึ้นทับอยู่บนผิวสนิมแดงอย่างหนาแน่น แทบจะมองไม่เห็นสนิมแดงที่แฝงอยู่ภายใน นอกจากนี้ยังถูกดินกรุเกาะที่ผิวพระอย่างหนาแนบแน่นแทบจะเป็นส่วนเดียวกับผิวพระยากแก่การล้าง

---พระอู่ทองกรุดอนกระโดน ถูกนำเข้ามาเผยแพร่ในส่วนกลางเมื่อประมาณ 20 กว่าปีที่ผ่านมาในระยะแรกยังไม่ค่อยมีผู้สนใจเช่าหาสะสมกัน เนื่องจากไม่มั่นใจว่าเป็นพระฝีมือหรือไม่ จนกระทั่งได้มีการสืบเสาะที่มาของพระกรุนี้ จึงได้มั่นใจว่าเป็นพระแท้ ที่มีอายุความเก่าเป็นธรรมชาติกลายมาเป็นพระกรุที่ได้รับความนิยมเล่นหากันเป็นมาตรฐาน และได้รับการบรรจุอยู่ในรายการประกวดพระอยู่ทุกครั้งไป

---จุดสังเกตพิเศษ ใต้ฝ่ามือซ้ายขององค์พระจะมีรอยแตกคล้ายเขี้ยววางพาดขนานไปกับแนวฝ่ามือ ในองค์ที่ติดชัด ๆ ปลายนิ้วพระหัตถ์ซ้ายจะมีเส้นแตกแยกออกเป็นสองแขนงคล้ายปลายกิ่งไม้ และเส้นพระศอสองเส้นให้สังเกตเส้นบนจะไม่เป็นเส้นต่อติดกัน ช่วงที่ไม่ต่อติดกันนั้นจะอยู่บริเวณกลางพระอุระพอดี บริเวณใต้คางจะมีก้อนเนื้อเกินนูนบาง ๆ ขนานไปทางขวาขององค์พระ (มีทุกองค์) ถ้าจุดนี้ไม่มีต้องระวังอาจจะเป็นพระซ่อม (คอ) ได้ ด้านหลังขององค์พระโดยมากที่พบเห็นจะเป็นหลังเว้า ลักษณะคล้ายหลังแบบ มีลายผ้าค่อนข้างหยาบ
Top