
หลวงพ่อน้อย คันธโชโต

ราหูอมจันทร์ (แบบเสมา ศิลป์มาตรฐาน) หลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมามีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมาไม่มีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมาไม่มีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมาไม่มีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน

ราหูอมจันทร์ แบบเสมาไม่มีหู เนื้อกะลาตาเดียว ศิลป์มาตรฐาน
ชื่อพระเครื่อง | ราหูอมจันทร์ (แบบเสมา ศิลป์มาตรฐาน) หลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง |
---|---|
อายุพระเครื่อง | 0 ปี |
หมวดพระ | ล็อคเก็ต รูปถ่าย แหวน แหนบ เข็มกลัด |
สถานะ | |
จำนวนคนชม | 17111 |
เข้าทำเนียบตั้งแต่วันที่ | ศ. - 08 ก.ค. 2554 - 20:26.15 |
แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อ | อ. - 12 ก.ค. 2554 - 19:13.56 |
รายละเอียด | |
---|---|
ข้อมูลการสร้าง - การสร้างราหูอมจันทร์ ได้รับการถ่ายทอดมาจากหลวงพ่อไตร อดีตเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดศีรษะ และมีการสร้างมากที่สุดในยุคของหลวงพ่อน้อย - วัสดุที่ใช้สร้างราหูอมจันทร์ ได้แก่ กะลาตาเดียว ยิ่งถ้าได้กะลาไม่มีตา มีเพียงอกเล็กน้อยยิ่งดี เพราะถือว่ามหาอุด - การสร้างจำแนกช่างหลักได้ ดังนี้ 1. ฝีมือช่างวัด ( ส่วนใหญ่พระลูกวัดเป็นผู้แกะ ) 2. ฝีมือช่างชาวบ้าน ( มีความงดงามและละเอียดปราณีต ) 3. ฝีมือนักโทษในเรือนจำนครปฐม ( หลวงพ่อน้อยมีลูกศิษย์เป็นผู้คุมในเรือนจำนครปฐมมาก เมื่อได้กะลาตาเดียวมาแล้วก็จะนำไปให้ลูกศิษย์หาคนแกะให้ ซึ่งก็ได้แก่นักโทษเรือนจำ ลักษณะส่วนใหญ่เป็นแบบห้อยคอ ) แม่พิมพ์ - จำนวนการสร้าง - ข้อมูลเพิ่มเติม - |