พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน - ทำเนียบรุ่น - webpra

เมืองลำพูน

พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน

พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (1)
พระรอด พิมพ์ใหญ่
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (1)
พระรอด พิมพ์ใหญ่
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (1)
พระรอด พิมพ์ใหญ่
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (1)
พระรอด พิมพ์ใหญ่
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (2)
พระรอด พิมพ์กลาง
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (2)
พระรอด พิมพ์กลาง
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (3)
พระรอด พิมพ์เล็ก
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (4)
พระรอด พิมพ์ต้อ
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (4)
พระรอด พิมพ์ต้อ
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (5)
พระรอด พิมพ์ตื้น
พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน (5)
พระรอด พิมพ์ตื้น
ชื่อพระเครื่อง พระรอด กรุวัดมหาวัน เมืองลำพูน
อายุพระเครื่อง 0 ปี
หมวดพระ พระกรุ
สถานะ
จำนวนคนชม 32141
เข้าทำเนียบตั้งแต่วันที่ อา. - 08 พ.ค. 2554 - 20:45.08
แก้ไขข้อมูลล่าสุดเมื่อ พ. - 16 ส.ค. 2560 - 15:12.12
Facebook
รายละเอียด
แม่พิมพ์
- พิมพ์ใหญ่
- พิมพ์กลาง
- พิมพ์เล็ก
- พิมพ์ต้อ
- พิมพ์ตื้น

เนื้อที่พบ
- ดินเผาละเอียดหนึกนุ่มมาก

ต้นกำเนิดครั้งแรก
- ที่กรุวัดมหาวันที่เดียว
- พระรอดมีการขุดพบครั้งแรกใน รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2435 พระเจดีย์มหาวันได้ชำรุดและพังทลายลงบางส่วน ทางวัดจึงได้ปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ และได้พบพระรอดภายในกรุเจดีย์มากที่สุด และได้นำพระรอดส่วนหนึ่งที่พบนำเข้าบรรจุไว้ในองค์พระเจดีย์ตามเดิมประมาณหนึ่งบาตร
- พ.ศ. 2451 ฐานพระเจดีย์ใหญ่วัดมหาวันชำรุด ทางวัดได้รื้อออกเสีย และปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ ได้พบพระรอดที่บรรจุไว้ในปี 2435 จึงได้นำออกมาทั้งหมด และนำออกแจกจ่าแก่ข้าราชการและผู้ร่วมในงาน (ถือว่าเป็น กรุเก่า)
- หลังจากนำพระรอดออกแจกจ่ายแล้ว ทางวัดจึงได้ทำพิธีสร้างพระรอดรุ่นใหม่ขึ้นเพื่อที่จะบรรจุไว้แทน และบางส่วนได้นำแจกประชาชน เข้าใจว่าประชาชนที่ได้รับในขณะจึงเรียกพระรอดว่า พระรอดครูบากองแก้ว
- จากนั้น พ.ศ. 2498 ได้ขุดพบพระรอด้านหน้าวัดและใต้ถุนกุฏิพระ ได้พบพระรอดเกือบ 300 องค์ กรุนี้จึงเรียกว่า (ถือว่าเป็น กรุใหม่)
- พ.ศ. 2506 ทางวัดได้รื้อฟื้นพระอุโบสถ เพื่อปฏิสังขรณ์ใหม่ ได้พบพระรอดครั้งสุดท้ายมีจำนวน 300 องค์เศษ


ศิลปะยุค
- ศิลปะแบบทวาราวดี-ศรีวิชัย เป็นรูปแบบเฉพาะของสกุลช่างสมัยหริภุญไชย คตวรรษที่ 17
Top