
ประมูล หมวด:พระสมเด็จวัดระฆัง - วัดบางขุนพรหม - วัดเกษไชโย
พระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ ฐาน 9 ชั้น (สนใจโทร.ติดต่อ 064-0289909)





ชื่อพระเครื่อง | พระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ ฐาน 9 ชั้น (สนใจโทร.ติดต่อ 064-0289909) |
---|---|
รายละเอียด | พระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ ฐาน 9 ชั้น (มรดกทางวัฒธรรม) เปิดโอกาส ผู้มีบุญวาสนาได้สืบทอดพระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ ฐาน 9 ชั้น สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )หาได้ยากยิ่งกว่าพระสมเด็จวัดระฆังพิมพ์ใหญ่ เรียกได้ว่าไม่พบก็ว่าได้"มีเพียงไม่กี่องค์ของสยามประเทศไทย" ตามอายุประวัติการ สร้างอายุใกล้เคียงกับวัดระฆัง เอกลักษณ์ อกร่อง หูบายศรี ลักษณะทางเนื้อ สีขาว อมเหลือง การปรากฏมวลสารค่อนข้างมาก ศิลปะยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น วัดเกศไชโยให้อยู่ในชุด เบญจภาคี เช่นเดียวกับพระสมเด็จวัดระฆัง และพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )สร้างขึ้น เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับโยมมารดาที่ชื่อ เกศ ฐาน 9 ชั้นหมายถึงมรรค 8 นิพพาน1 ด้านหลังองค์พระสมเด็จวัดเกศไชโย 9 ชั้น สังเกตุได้ว่า ที่ด้านข้างนั้นจะมีการตกแต่งฝนให้สวยงาม ไม่มีรอยปริแตกเหมือนกับวัดระฆัง และ ด้านหลัง มักพบรอยนิ้วมืออีกด้วย เมื่อกาลเวลาที่ผ่านไป... เนื้อพระที่ละเอียด เมื่อมีการสัมผัส ก็จะเกิดการขึ้นมันจะยิ่งทำให้เนื้อพระดูนุ่มยิ่งขึ้นพระสมเด็จ ๙ ชั้นวัดระฆัง (พิมพ์เกศไชโย) ปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นเนื้อพระค่อนข้างละเอียด ออกขาวอมเหลือง แห้ง หนึกนุ่ม สภาพองค์พระสมบูรณ์มีมวลสารชัดเจน ตามประวัติสร้างที่วัดระฆังยุคแรกๆ พิมพ์ทรงลักษณะเป็นชั้นๆ เหมือนพระสมเด็จที่จัดสร้างที่วัดเกศไชโย ขนาดองค์พระจะยาวกว่าพิมพ์พระประธานวัดระฆัง ด้านหล้งเรียบ ยุบย่นตามสภาพธรรมชาติ ปัจจุบันไม่ค่อยพบเห็นลักษณะของวัดเกศไชโย 1. พิมพ์จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมีกรอบกระจกรอบๆ องค์พระ ขอบพระจะบางกว่าวัดระฆัง,บางขุนพรหม 2. องค์พระเป็นปางทรมานกาย ทุกขกริยา อกร่อง อกตัน หูบายศรี 3. อกร่องจะลึกถึงใหล่ อกตันจะลึกถึงอก 4. ฐานหรือชั้นจะมี 6 ชั้น 7 ชั้น 9 ชั้น 5. ซุ้มครอบแก้วจะกว้างกว่าวัดอื่นๆ 6. องค์ที่ไม่มีคราบกรุจะมีสีขาวอมเหลือง องค์ที่มีคราบกรุจะมีสีน้ำตาลอ่อน 7. เนื้อนิยมจะเป็นเนื้อหินเปลือกหอยคล้ายบางขุนพรหม 8. ด้านหลังพระจะอูมมีการตกแต่งขอบเรียบร้อย 9. วัดเกศไชโยมีการบรรจุกรุถึง 3 ครั้ง พระจึงออกมามีอายุต่างกัน บรรจุครั้งแรกกรุพัง บรรจุครั้งที่ 2 กรุพังอีก บรรจุครั้งที่ 3 ไม่พังจนถึงเปิดกรุ ครั้งแรกกับครั้งหลังพระจะมีวรรณะต่างกันมากพระสมเด็จวัดเกศไชโย พิมพ์ ฐาน ๙ ชั้น เนื้อมวลสารวัดระฆังและแบบพิมพ์พระสมเด็จพุทธศิลป์(พ.ศ. 2406-2407)พระสมเด็จวัดเกศไชโยองค์นี้เนื้อพระเป็นมวลสารของวัดระฆัง แต่พิมพ์ทรงเป็นแบบพิมพ์นิยมวัดระฆัง.ฝากกรุวัดเกศไชโย....แบบพิมพ์ของหลวงวิจารย์เจียรนัย(เฮง)พระสมเด็จเกศไชโย ****จึงเพิ่มส่วนผสม กล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย เนื้อพระจึงออกมาเป็นสีเหลืองนวล พ.ศ.2406-2407 สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต)จึงสร้างพระพุทธรูปใหญ่ใหม่ และบรรจุพระสมเด็จจำนวน 84,000 องค์แแต่เนื่องจากการจัดสร้างจากเนื้องผงพระแตกร้าวซึ่งจัดสร้างจากผง พุทธคุณ 5 ชนิด และผงเกษรดอกไม้,ปูนขาว และข้าวสุก จึงเพิ่มส่วนผสม กล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย เนื้อพระจึงออกมาเป็นสีเหลืองนวล พระสมเด็จ พิมพ์ทุกข์กริยา วัดเกศไชโย พิมพ์นิยม 7 ชั้น เนื้อส่วนผสมของกล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย.องค์นี้ จากภาพขยายปรากฎสีเหลืองของกล้วย และชิ้นเปลือกล้วย ตามร่องผิวพระที่แตก แบบโต้แย้งไม่ได้เลย มวลสารที่ปรากฎไม่ว่าจะเป็นผง พุทธคุณ 5 ชนิด และผงเกษรดอกไม้,ปูนขาว และข้าวสุก และกล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย...ชัดเจนสวยงามจร้าใครรู้บ้างหนอ..พระสมเด็จบรรจุกรุมีถึง 3 ครั้ง พ.ศ.2407 บรรจครั้งแรก ต่อมาฐานกรุแตก ชาวบ้านเอาไปบูชาจำนวนมาก สมเด็จโตนำพระสมเด็จไปบรรจุเพิ่ม คราวนี้ไม่แตก แต่เจาะกรุซะ ต่อมากรุพัง...สมเด็จโตบูรณะและบรรจะพระสมเด็จเพิ่ม..พระเหลือ..ก็นำไปบรรจุที่วัดโพธิ์เกรียบ วัดสะตือ พระ 3 สภาพ สภาพพระบรรจุกรุครั้งแรก พระแตกหักมากหลวงวิจารย์เจียรนัย (เฮง) ได้แนะนำให้ผสมกล้วย และน้ำมันตังอิ๊ว เนื้อปูนหอยดิบ และผสมน้ำมันตังอิ๊วประสารเนื้อพระวัดเกศไชโยเป็นอารามหลวงชั้นโท..ชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่เลขที่ 13 ตำบลไชโย จังหวัดอ่างทอง..ไม่ปรากฎว่าใครสร้าง..เหตุที่ได้ชื่อว่าวัดเกศไชโยนี้..ชาวบ้านเล่ากันว่าเจ้าประคุณสมเด็จเป็นผู้สร้างในที่ดินของโยมตา..ชื่อไชย..แล้วอุทิศส่วนกุศลให้โยมตา และมารดาชื่อเกศ..จึงตั้งชื่อวัดว่า "วัดเกศไชโย" แต่ชาวบ้านเรียกด้วยความเคยชินว่า "วัดไชโย"พ.ศ. 2404 สมเด็จพุฒาจารย์โตมีความประสงค์สร้างพระสมเด็จเพื่อบรรจุในพระใหญ่วัดเกศไชโย แตได้พังทลายลงมาเสียก่อน พ.ศ.2406-2407 สมเด็จพระพุฒาจารย์(โต)จึงสร้างพระพุทธรูปใหญ่ใหม่ และบรรจุพระสมเด็จจำนวน 84,000 องค์แแต่เนื่องจากการจัดสร้างจากเนื้องผงพระแตกร้าวซึ่งจัดสร้างจากผงพุทธคุณ 5 ชนิด และผงเกษรดอกไม้,ปูนขาว และข้าวสุก จึงเพิ่มส่วนผสม กล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย เนื้อพระจึงออกมาเป็นสีเหลืองนวล และยังแตกร้าวแต่น้อยลงหลวงวิจารเจียรนัย(เฮง) ช่างหลวงในรัชกาลที่ 4 จึงถวายคำแนะนำให้ผสมสูตรน้ำมันตังอิ้วทำให้เนื้อพระไม่แตกจึงจัดสร้างตามจำนวนแต่เนื่องจากมวลสารไม่พอจึงบรรจุสมเด็จวัดระฆังลงไปด้วยพระอุโบสถ..ได้รับการบูรณะใหม่จนเสร็จเรียบร้อยในรัชกาลที่ 5 พ.ศ.2437 ลักษณะเป็นทรงไทยโบราณ มีมุขลดต่อออกมาทางด้านหน้าพระวิหาร..มีช่อฟ้าหน้าบัน..เสาพระวิหารรับเชิงชาย..ด้านหน้ามีภาพเขียนภาพจิตกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ พระปูนปั้นสมเด็จที่สร้างที่วัดเกศไชโยพระสมเด็จกรุนี้ ออกจะปรากฎพิมพ์ค่อนข้างแปลกพิสดาร..จะปรากฎเอกลักษณ์ให้เห็น..เส้นนูนเล็ก ๆ และอกร่อง..เป็นการแสดงออกทางศิลปะ และอารมณ์อย่างลึกซึ้ง..หมายถึงพระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญทุกข์กิริยา..เป็นการเตือนใจให้ทุกคนมีความเพียร..มานะบากบั่น..มุ่งมั่น..เพื่อประสพความสำเร็จ..พระสมเด็จวัดเกศไชโย เป็น 1 ใน 3 ตระกูลพระสมเด็จที่สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) โดยได้บรรจุไว้ในองค์พระมหาพุทธพิมพ์ พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่ประดิฐฐานอยู่ภายในพระวิหารวัดไชโยวรวิหาร จังหวัดอ่างทอง ซึ่งเป็นพระสมเด็จที่มีเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร นั่นคือจะต้องมีลักษณะของ อกร่อง หูบายศรี มีขอบกระจก เกือบทุกพิมพ์ทรง วงการพระเครื่องในปัจจุบันให้ความนิยมเป็นอย่างสูงและจัดรวมพระสมเด็จวัดเกศ ไชโยให้อยู่ในชุด เบญจภาคี เช่นเดียวกับพระสมเด็จวัดระฆัง และพระสมเด็จวัดบางขุนพรหม วัดไชโยวรวิหารหรือวัดเกศไชโย ( ชื่อที่ปรากฏในพื้นที่คือ วัดเกศไชโย ) เป็นพระอารามหลวงชนิดวรวิหาร ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ตำบลไชโย อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง เดิมทีเป็นวัดราษฏร์ สร้างมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาไม่มีประวัติแน่ชัดว่าใครสร้าง แต่มาปรากฏชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั่วไปเมื่อสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) แห่งวัดระฆังโฆษิตารามได้มาสร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ขึ้น เมื่อครั้งปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ประมาณปี 2400-2405 ซึ่งขณะนั้นท่านยังดำรงสมณะศักดิ์เป็นพระเทพกวี การที่ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) มาสร้าง พระหลวงพ่อโต หรือที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามให้ภายหลังว่า พระมหาพุทธพิมพ์ ขึ้นไว้ที่นี่ ก็เพื่อเป็นอนุสรณ์ที่ระลึกถึงโยมมารดาซึ่งได้ร่วงลับไปแล้วและเป็นอนุสรณ์ สถานความผูกพันในช่วงชีวิตของท่าน เนื่องจากมารดาเคยพาท่านมาพักอยู่ที่ตำบลไชโยเมื่อตอนท่านยังเล็กๆ ซึ่งตามประวัตินั้นสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) ท่านมักสร้างสิ่งที่เป็นอนุสรณ์เกี่ยวกับชีวิตของท่านไว้ตามสถานที่ต่างๆ ไว้มากมายความบันทึกของพระยาทิพโกษา ( สอน โลหะนันท์ ) ได้กล่าวไว้ว่า สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) เป็นผู้สร้างขึ้น เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับโยมมารดาที่ชื่อ เกศสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) ทรงสร้างพระพิมพ์สมเด็จ 7 ชั้น แล้วนำมาแจกรวมทั้งบรรจุกรุไว้ใน กรุวัดไชโยวิหาร ในคราวที่สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) ได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่วัดนี้ และประมาณการจากบันทึกต่างๆว่าน่าจะมีอายุการสร้างสมเด็จพิมพ์วัดเกศไชโย นั้นใกล้เคียงกับสมเด็จวัดระฆังโฆษิตาราม พระสมเด็จวักเกศไชโย จึงถือได้ว่าเป็นสมเด็จอีกตระกูลหนึ่ง ที่เกี่ยวข้องกับสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังษี ) ทั้งในด้านการปลุกเสก และบรรจุกรุ ส่วนผสมในการสร้างนั้นล้วนแล้วแต่เป็นของดีของวิเศษซึ่งสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี ) นำมาประสมกันเป็นเนื้อพระนั้น ส่วนใหญ่ใช้สูตรเดียวกับสมเด็จวัดระฆังฯ และสมเด็จบางขุนพรหม ประกอบด้วยมวลสารหลักได้แก่ ปูนเปลือกหอย ผงวิเศษ ( ผงอิทธิเจ ผงพุทธคุณ ผงปถมัง ผงมหาราช และผงตรีนิสิงเห ) ข้าวสุก กล้วยป่า ดอกไม้แห้ง และน้ำมันตั้วอิ้ว และมวลสารอื่นๆอีกมาก เนื้อพระสมเด็จวัดเกศไชโย อาจแบ่งได้ 3 ลักษณะคือ เนื้อนุ่ม เนื้อนุ่มปานกลาง และเนื้อแกร่ง พระเนื้อนุ่มมีมวลสารและน้ำมันตั้งอิ้วผสมอยู่มาก เรียกว่า เนื้อจัด ส่วนใหญ่มีสีขาวขุ่นอมน้ำตาล ( ไม่ใช่คราบเปลื้อนที่ผิว ) ส่วนพระเนื้อนุ่มปานกลาง มีส่วนผสมที่ได้สัดส่วนลงตัว ส่วนใหญ่สีขาวอมเหลือง และพระเนื้อแกร่ง เป็นพระเนื้อแก่ปูน ผิวแห้ง แกร่ง คล้ายเนื้อหินอ่อน มวลสารปรากฏให้เห็นในปริมาณน้อย พระสมเด็จวัดเกศไชโยนี้ มีด้วยกันหลายพิมพ์ แต่พิมพ์ที่วงการสากลนิยมมี 3 พิมพ์ด้วยกันคือ สมเด็จพิมพ์ 7 ชั้นนิยม สมเด็จพิมพ์ 6 ชั้น และสมเด็จพิมพ์ 3 ชั้น ส่วนในด้านพุทธคุณนั้นเด่นทางด้านโชคลาภ และเมตตามหานิยมลักษณะพิมพ์ทรง และ พุทธศิลป์ พระสมเด็จ ปี 2406-2407 1.พิมพ์ทรงบำเพ็ญทุกข์กิริยาผอมบาง..ค่อนข้างตื้น และพิมพ์ใหญ่..ทรงวัดระฆัง...บางองค์ปรากฎสารเคลือบผิว.ทอง.ชาด ,รัก หนา... 2.มีกรอบกระจก 3. เนื้อพระ ,ปูนขาวและยังแตกร้าวแต่น้อยลงหลวงวิจารเจียรนัย(เฮง) ช่างหลวงในรัชกาลที่ 4 จึงถวายคำแนะนำให้ผสมสูตรน้ำมันตังอิ้ว ก่อนกดพิมพ์เนื้อพระเปียกละเอียด จึงปรากฎรอยเหนอะหนะให้เห็น..บางองค์ปรากฎคราบตังอิ๊วคล้ายสนิมกระป๋อง 4. มวลสารผง พุทธคุณ 5 ชนิด และผงเกษรดอกไม้,ปูนขาว และข้าวสุก จึงเพิ่มส่วนผสม กล้วยหอมจันทน์ ,กล้วยน้ำว้า และเปลือกกล้วย เนื้อพระจึงออกมาเป็นสีเหลืองนวล 5.ด้านหลังองค์พระปาดเรียบ และกดมือ.. 6. เนื้อพระไม่ปรากฎหลุมโลกพระจันทน์ และรอยบ่อน้ำตา.เพราะพระเนื้อแข็งแน่น..จึงปรากฎรอบยุบตัวของมวลสาร 7.ซุ้มครอบแก้วโย้เอียง 8.พื้นที่ระดับพระยังคงเป็น 3 มิติ 9.ไม่ปรากฎคราบกรุ พระสมเด็จเกศไชโย (ยุคแรก) พ.ศ.2406-2407 สม เด็จพุฒาจารย์(โต)จึงสร้างพระพุทธรูปใหญ่ใหม่ และบรรจุพระสมเด็จจำนวน 84,000 องค์แแต่เนื่องจากการจัดสร้างจากเนื้องผงพระแตกร้าวซึ่งจัดสร้างจากผง พุทธคุณ 5 ชนิด และผงเกษรดอกไม้,ปูนขาว และข้าวสุก รอยเหนอะหนะที่ปรากฎขึ้นกับพระสมเด็จวัดเกศไชโย" หมายถึงธรรมชาติความเก่า หรือลักษณะการสร้างของพระสมเด็จวัดเกศไชโยนั้นเป็นการสร้างเช่นเดียวกับพระสมเด็จวัดระฆัง.การกดพิมพ์พระกดจากด้านหลังมาด้านหน้าองค์พระ..น้ำจากมวลสารก็จะมารวมกันอยู่ที่ด้านหน้าองค์พระที่เป็นก้นแบบ. และพระสมเด็จวัดเกศไชโยนั้น..เนื้อพระค่อนข้างละเอียด..มวลสารจะละเอียดมาก.ความชื้นเปียกมีมาก.พระเกือบทั้งหมดจึงเกิดรอยเหนอะหนะขึ้นที่ผนังพื้นหลังพระ หรือด้านหน้าองค์พระทั้งหมดไม่มากก็น้อย..เหมือนกดมือลงบนดินเหนียวละเอียดเปียก ๆ แล้วดึงมือขึ้น..ลักษณะดังกล่าวเรียกรอยเหนอะหนะนั้นเอง "ด้านหลังพระสมเด็จวัดเกศไชโย" พระสมเด็จวัดเกศไชโยเป็นพระปูนปั้น..ธรรมชาติโดยทั่วไปจะดูเรียบ แต่แท้จริงจะมีการยุบตัว หดตัวเป็นคลื่นสูง ๆ ต่ำ ๆ เนื่องจากเนื้อผงพุทธคุณแก่น้ำมันตังอิ๊ว เมื่อผ่านเวลาอายุเก่าเป็นร้อยปี..น้ำมันที่เป็นตัวประสาน และลอยออกมานอกพื้นผิว..คล้ายสนิมกระป๋อง.."ตำหนิจุดซ่อนเร้นเส้นทิวใต้กรอบกระจก" หมายถึง เส้นบาง ๆ ยาวเป็นทิว ที่ปรากฎขึ้นใต้กรอบกระจกพระสมเด็จวัดเกศไชโย 7 ชั้น(นิยม) ลักษณะเส้นซุ้ม หมายถึงลักษณะเส้นซุ้มของพระสมเด็จวัดเกศไชโยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือลักษณะเส้นซุ้มชะลูด,เส้นซุ้มปกติ,เส้นซุ้มต้อกว้าง"ตำหนิจุดซ่อนเร้นเนื้อล้นใต้ปลายฐาน" สนใจโทร.ติดต่อ 064-0289909 |
ราคาเปิดประมูล | 1,000 บาท |
ราคาปัจจุบัน | 1,000 บาท (ยังไม่ถึงราคาขั้นต่ำ) |
เพิ่มขึ้นครั้งละ | 100 บาท |
วันเปิดประมูล | ส. - 03 ส.ค. 2562 - 12:34.36 |
วันปิดประมูล |
จ. - 05 ส.ค. 2562 - 10:02.27 ![]() |
ผู้ตั้งประมูล | |
แชร์หน้านี้ |
ข้อมูลเพิ่มเติม #1 ส. - 03 ส.ค. 2562 - 12:35.26


เพิ่มรูป 1
ข้อมูลเพิ่มเติม #2 ส. - 03 ส.ค. 2562 - 12:35.53


เพิ่มรูป 2
ข้อมูลเพิ่มเติม #3 ส. - 03 ส.ค. 2562 - 12:36.17

เพิ่มรูป 3
ราคาปัจจุบัน | 1,000 บาท (ยังไม่ถึงราคาขั้นต่ำ) |
---|---|
เพิ่มครั้งละ | 100 บาท |
การประมูลพระเครื่องนี้ ถูกปิดก่อนกำหนดโดยผู้ตั้งประมูล
กรุณาทำการ Login เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการประมูลใดๆ |
ผู้เสนอราคา | ราคา | เวลา |
---|---|---|
ยังไม่มีผู้ประมูล |
กำลังโหลด...